Loy Krathong Day is one of the most popular festivals of Thailand celebrated annually on the Full-Moon Day of the Twelfth Lunar Month.

November 17, 2013

 

 

 

Loy Krathong Day is one of the most popular festivals of Thailand celebrated annually on the Full-Moon Day of the Twelfth Lunar Month. It takes place at a time when the weather is fine as the rainy season is over and there is a high water level all over the country.

วันลอยกระทงคือ หนึ่งในเทศกาลที่เป็นนิยมมากที่สุดของไทย ซึ่งเฉลิมฉลองทุกปีในวันเพ็ญของเดือนที่สิบสองตามปฏิทินจันทรคติ ในช่วงนี้อากาศจะดีเพราะฤดูฝนก็ได้พ้นผ่านแล้ว และระดับน้ำก็สูงเต็มตลิ่งทั่วทั้งประเทศ

The word “Loy” means “to float”, and “Krathong” means lotus-shaped vessel made of banana leaves. Loy Krathong is, therefore the floating of an illuminated leaf bowl. But nowadays some krathongs are made of coloured paper. A krathong usually contains a candle, three joss sticks, some flowers and coins.

คำว่า “Loy” หมายถึง ลอย และ “Kraton” หมายถึง ภาชนะที่มีรูปร่างคล้ายดอกบัว ซึ่งทำจากใบตอง ดังนั้น ลอยกระทงจึงหมายถึงการลอยกระทงใบไม้ที่ประดับตกแต่ง แต่ในปัจจุบันนี้ กระทงบางอันก็ทำจากกระดาษสี โดยปกติกระทงจะประกอบด้วย เทียนหนึ่งเล่ม ธูปสามดอก ดอกไม้ และเหรียญ

The history of Loy Krathong Festival is slightly obscure. First, it is to ask for apology from the water goddess for having used and sometimes made rivers and canals dirty. Second, it is to offer flowers, candles and joss sticks as a tribute to the footprint of Lord Buddha on the sandy beach of the Nammatha River in India. Third, it is to show gratitude to the Phra Mae Kong Ka or Mother of Water. Fourth, it is to wash away the previous year’s misfortunes.

ประวัติของเทศกาลลอยกระทงค่อนข้างคลุมเครือ ประการแรกเชื่อว่าเป็นการขอขมาเทพแห่งน้ำที่ได้ใช้ประโยชน์จากน้ำและบางครั้งทำให้น้ำในแม่น้ำลำคลองสกปรก ประการที่สอง เป็นการถวายดอกไม้ธูปเทียนเป็นเครื่องบูชาพระพุทธบาทบนริมฝั่งของแม่น้ำนัมมทาในอินเดีย ประการที่สามเพื่อแสดงความกตัญญูต่อพระแม่คงคา ประการที่สี่เป็นการชำระล้างโชคร้ายจากปีก่อน

The ceremony is believed to have originated in the time of King Ramkhamhaeng of Sukhothai, the first capital of Thailand, and to have been started by Nang Nophamas or Tao Sri Chulalak, the Brahman consort of the King. She was the first person who introduced “Krathongcherm”, the banana leaf krathong in the form of lotus blossom on the festival night. The festival starts in the evening when there is a full moon in the sky. People carry their krathongs to the river and canals. After lighting candles and joss sticks and making a wish, they gently place the krathongs on the water and let them drift away till they go out of sight. It is believed that krathongs carry away their sins and bad luck, and happiness will come to them. Indeed, it is the time to be joyful and happy as the sufferings are floated away.

พิธีกรรมเหล่านี้เชื่อว่ามีต้นกำเนิดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงแห่งกรุงสุโขทัย ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของไทย และริเริ่มโดยนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งเป็นพระสนมของพระราชา นางเป็นคนแรกที่ใช้กระทงเจิม ซึ่งเป็นกระทงทำจากใบตองเป็นรูปบัวตูมที่ใช้ในคืนของเทศกาล เทศกาลเฉลิมฉลองจะเริ่มในตอนเย็นของคืนที่มีพระจันทร์เต็มดวงบนท้องฟ้า ประชาชนจะนำกระทงของพวกเขาไปยังแม่น้ำและลำคลอง หลังจากจุดเทียน ธูปและอธิษฐานแล้ว พวกเขาก็จะค่อยๆปล่อยกระทงลงน้ำและปล่อยให้กระทงลอยไปจนลับตา เป็นความเชื่อที่ว่ากระทงจะนำบาปและโชคร้ายไปด้วย และความสุขก็จะมาเยือนพวกเขา มันช่างเป็นเวลาแห่งความสุขและเริงร่าจริงๆ เพราะความทุกข์ได้ลอยหนีไป

The festival includes a contest of Krathong-making, the Nophamas Queen Contest, local games and performances, entertainment programs and firework displays. The Loy Krathong song contributes to the romantic atmosphere of this occasion.

ในงานเทศกาลจะมีการแข่งขันประกวดกระทง การประกวดราชินีนพมาศ การแสดงและกีฬาพื้นเมือง รายการบันเทิงต่างๆ และการแสดงดอกไม้ไฟ เพลงลอยกระทงจะช่วยเสริมบรรยากาศอันโรแมนติกให้กับโอกาสอันพิเศษนี้

水灯节ลอยกระทง

   每年泰国佛历十二月十五日(阳历的11月某日)是泰国的水灯节。这个季节在泰国是旱季,相
当于北方的秋天,气温凉爽,月明星稀,是夜里放水灯的最好的日子。 

相传水灯节已有700年的历史。它诞生于泰国中部的城镇素可泰。“素可泰”,在泰语中是“幸福的黎
明”的意思。关于素可泰与水灯节的关系,当地流传着几个美妙的传说。
  传说在很久以前,素可泰有一位名叫“诺帕玛”的姑娘,长得非常秀丽,只是体弱多病,心里很是苦恼。有一天她正在菩提树下为自己的身体发愁,忽然佛祖释迦牟尼飘然而至。姑娘连忙跪拜佛祖,请求佛祖帮助她驱除病魔。佛祖告诉她,在佛历十二月的月圆之夜,将自己剪下来的碎指甲和头发,放在一个莲花形的灯座里,点上蜡烛,放到河里,就可以驱除病魔。到了这年的十二月的一个月圆之夜,姑娘按着佛祖队话做了,结果她的身体真的康复了。
  此后,诺帕玛姑娘为了感谢佛组的恩赐,就在每年的十二月十五日夜里,用芭蕉叶制作一种莲花形的基座,插上蜡烛,放入河里,以此方式来表达对佛祖释迦牟尼的膜拜。后来,姑娘的举动让国王知道了,国王就决定每年十二月十五日夜里,在河里放水灯,来祈求佛祖保佑五谷丰登,诸事如意。并将这一天定为泰国的水灯节。据史料记载,每年的十二月十五日夜里的良辰吉日来到时,国王将王妃们制作成莲花状的水灯,点上蜡烛,放到河里,作为表达对佛陀、河神祭拜及谢恩的一种隆重仪式。
  还有个传说说是在两千多年前,释迦牟尼在菩提树下修行时,有位少女给他送来一金盘食物。当时释迎牟尼暗中许了个愿:如能得道成佛,把金盘放到河里就漂浮在水面上。他接过金盘放到河面上,果然四平八稳地浮着。不久释迎牟尼就成了佛祖。
  另一个传说更为离奇。传说在远古时,一对白乌鸦在河边树上筑巢,生下五个蛋。忽然有一天风暴袭来,鸦巢被吹落到河里。白乌鸦淹死了,五个鸦蛋却被河水冲走。后来这五个鸦蛋被孵化成人,他们立志要找到母亲。当他们的母亲——白乌鸦在天上得知此事后,就化作原形,飞到人间,告诉她的孩子们在每年12月的月圆的夜里,把香烛插在形如雀巢的盘中,浮在河上来表示对母亲的怀念。
  这些传说的可靠性已难查考,不管是出于什么缘由,但无可辩驳的事实是水灯节的风俗已成为泰国富有传统韵味和充满诗情画意的民族节日。
  在水灯节的这一天夜里,当皓月升空之时,人们都穿着华丽的泰式民族服装,怀着一颗虔诚的心,去参加放水灯的庆典。特别是一些窈窕淑女,迈着轻盈的脚步,到河边放水灯,更是婀娜多姿的一种风采。
  水灯是用芭蕉叶折叠成莲花形状,呈圆形,周边有三角状突起,中间插着两支小蜡烛,一支香,还有一支火药捻制的“烟花捻”。点燃后,这支“烟花捻”火花四溅,毕毕剥剥,煞是好看。放水灯前要点燃小蜡烛,用以表示导向光明,心灵明澈的向往。这种取自自然的材料,美观而新鲜,还散发着芬芳的气息。据说前几年的水灯有用泡沫板防水纸做的,形状大小不一,更是五光十色。近年曼谷维护清洁局局长纳隆事光友布指示,要求用天然物质制作水灯,以便“协同维护河流、港渠的清洁”,防止环境受到污染。
  在水灯节的这天夜里,各个城市一般都要举行水灯节盛会。在其发祥地素可泰府最为隆重。这里的盛会是在最具规模的玛哈泰寺前的护城河举行。素可泰府的水灯节为期三天,不仅规模盛大,而且还演出模拟性的历史情景,在现代科学的声、光、电的衬托下,气势磅礴,惟妙惟肖。其间,还要举行选美比赛、水灯比赛、灯笼比赛、烟花比赛等。盛会的高潮是放水灯。在银色月光的沐浴下,河面上波光粼粼,两岸的歌声、鼓乐声此起彼伏。花枝招展的少女,春风得意的小伙子点燃水灯的蜡烛,口中默念着许下的心愿,将水灯轻轻地放在水面上,凝望着水灯顺流漂去。
  在水灯节期间,沿河两岸的小店播放着耳熟能详的水灯节情歌,出售拜神用的莲花和蜡烛,生意非常兴隆。还有一些食档专卖泰式传统美食,如炸鱼饼、烤蕃薯、干鱼松、辣豆、青菜和竹筒饭,全部盛在一个大盘子里,中间点燃一根蜡烛,吃起来很有气氛。

 

Visitors: 72,619