Loy Krathong Day is one of the most popular festivals of Thailand celebrated annually on the Full-Moon Day of the Twelfth Lunar Month.
November 17, 2013
Loy Krathong Day is one of the most popular festivals of Thailand celebrated annually on the Full-Moon Day of the Twelfth Lunar Month. It takes place at a time when the weather is fine as the rainy season is over and there is a high water level all over the country.
วันลอยกระทงคือ หนึ่งในเทศกาลที่เป็นนิยมมากที่สุดของไทย ซึ่งเฉลิมฉลองทุกปีในวันเพ็ญของเดือนที่สิบสองตามปฏิทินจันทรคติ ในช่วงนี้อากาศจะดีเพราะฤดูฝนก็ได้พ้นผ่านแล้ว และระดับน้ำก็สูงเต็มตลิ่งทั่วทั้งประเทศ
The word “Loy” means “to float”, and “Krathong” means lotus-shaped vessel made of banana leaves. Loy Krathong is, therefore the floating of an illuminated leaf bowl. But nowadays some krathongs are made of coloured paper. A krathong usually contains a candle, three joss sticks, some flowers and coins.
คำว่า “Loy” หมายถึง ลอย และ “Kraton” หมายถึง ภาชนะที่มีรูปร่างคล้ายดอกบัว ซึ่งทำจากใบตอง ดังนั้น ลอยกระทงจึงหมายถึงการลอยกระทงใบไม้ที่ประดับตกแต่ง แต่ในปัจจุบันนี้ กระทงบางอันก็ทำจากกระดาษสี โดยปกติกระทงจะประกอบด้วย เทียนหนึ่งเล่ม ธูปสามดอก ดอกไม้ และเหรียญ
The history of Loy Krathong Festival is slightly obscure. First, it is to ask for apology from the water goddess for having used and sometimes made rivers and canals dirty. Second, it is to offer flowers, candles and joss sticks as a tribute to the footprint of Lord Buddha on the sandy beach of the Nammatha River in India. Third, it is to show gratitude to the Phra Mae Kong Ka or Mother of Water. Fourth, it is to wash away the previous year’s misfortunes.
ประวัติของเทศกาลลอยกระทงค่อนข้างคลุมเครือ ประการแรกเชื่อว่าเป็นการขอขมาเทพแห่งน้ำที่ได้ใช้ประโยชน์จากน้ำและบางครั้งทำให้น้ำในแม่น้ำลำคลองสกปรก ประการที่สอง เป็นการถวายดอกไม้ธูปเทียนเป็นเครื่องบูชาพระพุทธบาทบนริมฝั่งของแม่น้ำนัมมทาในอินเดีย ประการที่สามเพื่อแสดงความกตัญญูต่อพระแม่คงคา ประการที่สี่เป็นการชำระล้างโชคร้ายจากปีก่อน
The ceremony is believed to have originated in the time of King Ramkhamhaeng of Sukhothai, the first capital of Thailand, and to have been started by Nang Nophamas or Tao Sri Chulalak, the Brahman consort of the King. She was the first person who introduced “Krathongcherm”, the banana leaf krathong in the form of lotus blossom on the festival night. The festival starts in the evening when there is a full moon in the sky. People carry their krathongs to the river and canals. After lighting candles and joss sticks and making a wish, they gently place the krathongs on the water and let them drift away till they go out of sight. It is believed that krathongs carry away their sins and bad luck, and happiness will come to them. Indeed, it is the time to be joyful and happy as the sufferings are floated away.
พิธีกรรมเหล่านี้เชื่อว่ามีต้นกำเนิดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงแห่งกรุงสุโขทัย ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของไทย และริเริ่มโดยนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งเป็นพระสนมของพระราชา นางเป็นคนแรกที่ใช้กระทงเจิม ซึ่งเป็นกระทงทำจากใบตองเป็นรูปบัวตูมที่ใช้ในคืนของเทศกาล เทศกาลเฉลิมฉลองจะเริ่มในตอนเย็นของคืนที่มีพระจันทร์เต็มดวงบนท้องฟ้า ประชาชนจะนำกระทงของพวกเขาไปยังแม่น้ำและลำคลอง หลังจากจุดเทียน ธูปและอธิษฐานแล้ว พวกเขาก็จะค่อยๆปล่อยกระทงลงน้ำและปล่อยให้กระทงลอยไปจนลับตา เป็นความเชื่อที่ว่ากระทงจะนำบาปและโชคร้ายไปด้วย และความสุขก็จะมาเยือนพวกเขา มันช่างเป็นเวลาแห่งความสุขและเริงร่าจริงๆ เพราะความทุกข์ได้ลอยหนีไป
The festival includes a contest of Krathong-making, the Nophamas Queen Contest, local games and performances, entertainment programs and firework displays. The Loy Krathong song contributes to the romantic atmosphere of this occasion.
ในงานเทศกาลจะมีการแข่งขันประกวดกระทง การประกวดราชินีนพมาศ การแสดงและกีฬาพื้นเมือง รายการบันเทิงต่างๆ และการแสดงดอกไม้ไฟ เพลงลอยกระทงจะช่วยเสริมบรรยากาศอันโรแมนติกให้กับโอกาสอันพิเศษนี้
每年泰国佛历十二月十五日(阳历的11月某日)是泰国的水灯节。这个季节在泰国是旱季,相
当于北方的秋天,气温凉爽,月明星稀,是夜里放水灯的最好的日子。
明”的意思。关于素可泰与水灯节的关系,当地流传着几个美妙的传说。